
สัญญาจ้างแรงงาน/สัญญาจ้างบริการ/สัญญาจ้างเหมาค่าแรง/สัญญาจ้างเหมางาน/สัญญาจ้างทำของตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์/กฎหมายคุ้มครองแรงงานใหม่/ประมวลรัษฎากร
ในการบริหารองค์กรที่จำเป็นต้องมีการจ้าง “บุคคล” (Person) ทั้งภายในประเทศหรือต่างประเทศเข้ามาทำงาน การทำสัญญาจ้าง (Contract) ถือเป็นเรื่องสำคัญที่สุดเพราะถ้าไม่มีสัญญาก็จะอ้างเหตุถึงที่มาของการจ่ายค่าตอบแทนไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ประเภทของสัญญาแต่ละชนิดจะมีข้อกำหนดของกฎหมายที่ควบคุมแตกต่างกันและความรับผิดในการเสียภาษีย่อมไม่เหมือนกัน ทั้ง การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย การเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม การปิดอากรแสตมป์ทั้งต้นฉบับและคู่ฉบับ ตามประมวลรัษฎากรดังนั้น การเลือกทำสัญญาจ้างที่เหมาะสมกับการบริหารองค์กรและการเสียภาษีที่ถูกต้องตามกฎหมาย ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถป้องกันความผิดพลาดจากการถูกตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งเจ้าหน้าที่สรรพากรและเจ้าหน้าที่แรงงาน
หัวข้อบรรยาย:
1. ความหมายของสัญญาจ้างแรงงาน/สัญญาจ้างบริการ/สัญญาจ้างเหมาค่าแรง/สัญญาจ้างเหมางาน/และสัญญาจ้างทำของ
- ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
- ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ.2541 (ปรับปรุงล่าสุดพ.ศ.2560)
- ตามประมวลรัษฎากร
2. หลักเกณฑ์และหัวใจสำคัญของแต่ละประเภทสัญญา ได้แก่
-สัญญาจ้างแรงงาน
-สัญญาจ้างบริการ
-สัญญาจ้างเหมาค่าแรง
-สัญญาจ้างเหมางาน
-สัญญาจ้างทำของ
3. ข้อแตกต่างสำคัญระหว่างสัญญาจ้างแรงงาน/สัญญาจ้างบริการ/สัญญาจ้างเหมา ค่าแรง/สัญญาจ้างเหมางาน/และสัญญาจ้างทำของ
4. การผิดสัญญาและการบังคับให้เป็นไปตามสัญญาแต่ละประเภท
5. ผลกระทบทางด้านภาระภาษีตามประมวลรัษฎากร
- ภาษีเงินได้ (Income Tax)
- ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (withholding Tax)
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)
- อากรแสตมป์ (Stamp Duty)
6. ปัญหาพิเศษเฉพาะ “สัญญาจ้างแรงงาน” ได้แก่
6.1-ปัญหาความหมายของคำว่า “ค่าจ้าง” ตามกฎหมาย
6.2-ปัญหาการให้ "สวัสดิการ” ที่คาบเกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้าง
6.3-ปัญหาการจัดทำ ”ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน” ตามกฎหมาย
6.4-ปัญหาการเลิกจ้าง/การลงโทษทางวินัย/การลาออก/การเกษียณอายุ
6.5-ปัญหาการบริหารวันหยุดวันลา
6.6-ปัญหาการทำสัญญาทดลองงาน/การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
6.7-ปัญหาการเลือกปฏิบัติในการทำสัญญาจ้างลูกจ้างต่างด้าวกับลูกจ้างที่เป็นคนไทย
6.8-ปัญหาการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ/กองทุนประกันสังคม/กองทุนเงินทดแทน/กองทุน เงินกู้ยืมสำหรับพนักงาน
6.9-ปัญหาการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมที่ต้องชดใช้ค่าเสียหาย
6.10-ปัญหาการโอนย้ายพนักงาน/การยุบหน่วยงาน
7. การบริหารงานด้วยความขอบธรรม/มีคุณธรรม/และจริยธรรม
วิทยากร รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว
- อดีตอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ที่ปรึกษากฎหมายธุรกิจ/แรงงาน/บัญชี/และภาษี
กำหนดการ วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09.00-16.00 น.
สถานที่ ศูนย์ประชุมและสัมมนา เดอะ คอนเนคชั่น ( ข้างที่จอดรถ MRT ลาดพร้าว )สี่แยกรัชดา-ลาดพร้าว กทม.
อัตราค่าลงทะเบียน : (รวมค่าเอกสาร, ของว่าง และอาหารกลางวัน)
รายการ
|
ราคา+vat 7%
|
หัก ณ ที่จ่าย (บาท)
|
สมาชิก
|
□ 6,000+420= 6,420
|
□ 6,420 -180= 6,240
|
บุคคลทั่วไป
|
□ 7,000+490= 7,490
|
□ 7,490 - 210= 7,280
|
บุคคลทั่วไป (โอนก่อน 1 สัปดาห์ )
|
□ 6,500+455= 6,955
|
□ 6,955 -195= 6,760
|
ดาวน์โหลดหลักสูตรที่นี่ ดาวน์โหลดใบลงทะเบียนที่นี่
สอบถามสำรองที่นั่งได้ที่บริษัท ฝึกอบรมและสัมมนากฎหมายวิญญูชน จำกัด
โทร.02-919-2022, 089-703-4200 ,095-839-8190 ,080-056-8084
Email: winyuchon_2554@hotmail.com,www. SeminarWinyuchon.com